แถบระบายน้ำแนวขวาง
การใช้แถบระบายน้ำของ CeTeau อาจใช้ทั้งแบบ Strip Drain ซึ่งเป็นแบบแนวขวางประกอบบนตัว แถบระบายน้ำแนวตั้งสำเร็จรูป (Wick Drain) ซึ่งจะช่วยให้บริหารค่าใช้จ่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ, มีความแน่นอนและประมาณปริมาณการใช้ทรายหรือชั้นการระบายน้ำที่เป็นดินกรวดได้.
แถบระบายน้ำแนวขวาง (Strip drains) จะถูกวางใต้ชั้นพื้นผิวฉาบด้านบน(Surface) เพื่อรับการไหลจากการระบายในแนวดิ่งและเหนี่ยวนำมันขึ้นมาที่ตำแหน่งคลายประจุ (Discharge Point) ที่ขอบด้านบนของตัว Surcharge โดยส่วนใหญ่ทางเลือกในการติดตั้งแบบนี้มีค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการระบายน้ำในชั้นที่เป็นดินกรวด โดยให้ค่าความต้านทานทางผ่านของการระบายน้ำที่ต่ำเพื่อบรรเทาความดันน้ำส่วนเกินในโพรงดิน, แถบระบายน้ำแนวตั้งสำเร็จรูปนั้น (wick drains) ทำให้กระบวนการแข็งตัวของดินอ่อนที่เกาะเป็นก้อนสั้นลงอย่างรวดเร็ว ด้วยการใช้น้ำหนักของ Surcharge แผงระบายน้ำแนวตั้งเป็นวิธีที่บริหารต้นทุนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทางผ่านของการระบายน้ำทำให้รองรับการไหลจากแถบระบายและนำมันขึ้นมาจากชั้น Surcharge สุ่ตำแหน่งการคลายประจุ ๅ(Discharge Point) ได้อย่างเหมาะสม แถบระบายน้ำทางขวางสามารถทำได้โดยปราศจากแรงดันส่วนเกินย้อนกลับไปสู่แถบระบายน้ำแนวตั้งซึ่งจะทำให้เกิดความล่าช้าของกระบวนการแข็งตัว ความเป็นที่นิยมเรื่อยมาของแถบระบายน้ำตัวทางขวางจะถูกติดตั้งในชั้นของทราย โดยทั่วไปจะอยู่ที่ความหนาประมาณ 1 เมตร ภายใต้ชั้น Surcharge การวิเคราะห์ตามตำราโดยส่วนใหญ่เป็นการคาดคะเนอัตราการไหลของการระบายในชั้นทรายที่มากเกินไป จึงให้ตัวระบายน้ำทางขวางให้ผลลัพท์ที่ไม่เพียงพอ ในกรณีศึกษาจำนวนหนึ่งจึงให้การยออมรับการใช้งานระบบการระบายน้ำแบบตั้งเป็นส่วนใหญ่.